รู้จักกับ BIOS (Basic Input/Output System) กันไว้ก่อน
อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ทุกชนิดที่เป็น ฮาร์ดแวร์ จะสามารถทำงานได้โดยต้องมี ซอฟท์แวร์ ประกอบด้วย สำหรับ BIOS (Basic Input/Out System) นี้จะเป็นที่เก็บ ซอฟท์แวร์ ขนาดเล็ก ๆ ไว้ในชิป ROM (เป็นแบบ EPROM : Erasable Programmable Read-Only Memory) เพื่อใช้สำหรับทำการบูทเครื่องคอมพิวเตอร์จากแผ่น floppy disks (FDD) หรือจาก hard disks (HDD) โดยที่ BIOS จะทำหน้าที่ต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับการ POST (Power-On Self Test) ก่อนที่จะเรียกใช้ ซอฟท์แวร์ ที่เป็น Operating System เช่น DOS หรือ Windows จาก FDD หรือ HDD เพื่อทำการเริ่มต้นเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้สามารถทำงานได้ต่อไป
อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ทุกชนิดที่เป็น ฮาร์ดแวร์ จะสามารถทำงานได้โดยต้องมี ซอฟท์แวร์ ประกอบด้วย สำหรับ BIOS (Basic Input/Out System) นี้จะเป็นที่เก็บ ซอฟท์แวร์ ขนาดเล็ก ๆ ไว้ในชิป ROM (เป็นแบบ EPROM : Erasable Programmable Read-Only Memory) เพื่อใช้สำหรับทำการบูทเครื่องคอมพิวเตอร์จากแผ่น floppy disks (FDD) หรือจาก hard disks (HDD) โดยที่ BIOS จะทำหน้าที่ต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับการ POST (Power-On Self Test) ก่อนที่จะเรียกใช้ ซอฟท์แวร์ ที่เป็น Operating System เช่น DOS หรือ Windows จาก FDD หรือ HDD เพื่อทำการเริ่มต้นเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้สามารถทำงานได้ต่อไป
นอก จากนี้ BIOS ยังเป็นตัวกำหนดค่าต่าง ๆ ให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยจะควบคุมการทำงานของ Keyboard, ควบคุมการทำงานของ Serial Port, Parallel Port, Video Card, Sound Card, HDD Controller และอื่น ๆ ในบางครั้ง เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นเก่า ๆ เมื่อมีอุปกรณ์ใหม่ ๆ เพิ่มเติมเข้ามาหาก BIOS ไม่สามารถรู้จักและใช้งานได้ จำเป็นต้องมีการแก้ไขโปรแกรมหรือซอฟท์แวร์ที่บรรจุใน BIOS ให้รู้จักกับอุปกรณ์ใหม่ ๆ นั้นด้วยที่เรียกกันว่า Flash BIOS นั่นเอง
สำหรับ ปัจจุบันนี้ BIOS จะเก็บไว้ใน EPROM ซึ่งเป็นหน่วยความจำชนิดหนึ่งที่ปกติจะใช้สำหรับอ่านได้อย่างเดียว (ส่วนใหญ่จะเป็นไอซีตัวสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ อยู่บนเมนบอร์ด) โดยที่เราสามารถทำการ ลบข้อมูลและโปรแกรมข้อมูล ลงไปใหม่ได้โดยใช้ซอฟท์แวร์ที่ออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับการ Flash BIOS นั้น ๆ ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับชนิดของ BIOS EPROM และเมนบอร์ดด้วยนะครับว่าสามารถ Flash ได้หรือเปล่าโดยวิธีการง่าย ๆ คือตรวจสอบจากเวปไซต์ของผู้ผลิดเมนบอร์ดนั้น ๆ (โดยส่วนใหญ่แล้ว เมนบอร์ดสำหรับ Pentium ขึ้นไปส่วนใหญ่จะทำการ Flash ได้แล้ว)
เพื่อ ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดของการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ จำเป็นต้องทำการตั้งค่าต่าง ๆ ใน BIOS ให้เหมาะสมเช่น ค่าความเร็วของการอ่านข้อมูลจาก Memory การตั้ง Enabled หรือ Disabled อุปกรณ์ต่าง ๆ, ความเร็วของ PCI BUS, ชนิดของ Floppy Disk หรือ Hard Disk ที่ใช้งาน, อุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ เช่น SCSI และอื่น ๆ อีกมากมายที่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
BIOS ที่มีใช้งานอยู่ส่วนใหญ่จะมีอยู่ 2 บริษัทคือของ AMI BIOS (American Megatrends Inc) และ AWARD (ปัจจุบันรวมเข้ากับ Phoenix Technologies, Ltd. แล้ว) นอกจากนี้ก็จะมี BIOS ที่เป็นของแบนด์เนมต่าง ๆ เช่น COMPAQ หรือ IBM ซึ่งจะมีหน้าตาและวิธีการตั้งค่าแตกต่างออกไปด้วย
วิธีการหายี่ห้อของ Main Board จากตัวเลขของ BIOS
ของแถมครับ สำหรับท่านที่ไม่ทราบว่า เมนบอร์ดที่ท่านใช้งานอยู่นี้ เป็นยี่ห้ออะไรหรือรุ่นไหน จะหา Download คู่มือต่าง ๆ ได้จากที่ไหนบ้าง แต่ต้องบอกก่อนนะครับว่า อาจจะไม่สามารถหาได้ทั้งหมด หรือบางครั้งทราบยี่ห้อและรุ่นแล้ว แต่หาเวปไซต์ผู้ผลิตเมนบอร์ดรุ่นนั้น ๆ ไม่ได้แล้วก็มี
- เริ่ม ต้นจาก สังเกตุหน้าจอตอน Boot เครื่องครั้งแร กนะครับ จะมีข้อมูลต่าง ๆ ทั้งของการ์ดจอที่ใช้ ยี่ห้อของ BIOS ความเร็วของ CPU และรวมถึงหมายเลขของ BIOS ด้วย ปกติจะอยู่ประมาณด้านล่างซ้ายมือ เช่นของผมจะเป็นเลข “2A59GV5C-00″ ถ้าหากเมนบอร์ดของคุณเป็นรุ่นใหม่ ๆ หน่อยก็อาจจะมียี่ห้อหรือรุ่นและ web ผู้ผลิตให้ด้วย
- หรือหา Download โปรแกรมตรวจเช็คหมายเลขของ BIOS ได้ที่ ftp://ftp.heise.de/pub/ct/ctsi/ctbios15.zip
- ไปค้นหายี่ห้อ รุ่นของเมนบอร์ดได้ที่เวปไซต์นี้ โดยทำการเทียบหมายเลขของ BIOS นะครับ http://www.wimsbios.com
- เมื่อค้นหาได้แล้ว ก็จะทราบว่าเป็นเมนบอร์ด ยี่ห้อหรือรุ่นอะไรก็ไปที่เวปไซต์นั้น ๆ ได้เล
การตั้งค่าและความหมายของคำต่าง ๆ ใน BIOS ที่ควรทราบ
โดยปกติแล้ว เราไม่จำเป็นต้องทำการเปลี่ยนแปลงค่าต่าง ๆ ใน BIOS บ่อยนัก ยกเว้นเมื่อเราต้องการเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าต่าง ๆ หรือเมื่อมีการเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ ๆ เช่น CPU, RAM หรือ Hard Disk เป็นต้น
การเข้าสู่ BIOS Setup Mode
สำหรับวิธีการที่จะเข้าไปตั้งค่าต่าง ๆ ใน BIOS ได้นั้น จะขึ้นอยู่กับระบบของแต่ละเครื่องด้วย โดยปกติเมื่อเราทำการเปิดสวิทช์ไฟของเครื่องคอมพิวเตอร์ BIOS ก็จะเริ่มทำงานโดยทำการทดสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ก่อนที่จะเรียกใช้งานระบบ DOS จากแผ่น Floppy Disk หรือ Hard Disk ในช่วงนี้จะเป็นช่วงที่เราสามารถเข้าไปทำการแก้ไขเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าต่าง ๆ ใน BIOS ได้โดยกด Key ต่าง ๆ เช่น DEL, ESC CTRL-ESC, CTRL-ALT-ESC ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าแต่ละเครื่องจะตั้งไว้อย่างไร ส่วนใหญ่ จะมีข้อความบอกเช่น “Press DEL Key to Enter BIOS Setup” เป็นต้น
ปุ่ม Key ต่าง ๆ ที่ใช้สำหรับการ Setup BIOS ส่วนใหญ่จะเป็นแบบเดียวกัน โดยจะมีรูปแบบทั่วไปดังนี้
Up, Down, Left, Right ใช้สำหรับเลื่อนเมนูตามต้องการตัวอย่างการตั้งค่าต่าง ๆ ใน BIOS Setup
Page Up, Page Down ใช้สำหรับเพิ่ม ลบ หรือเปลี่ยนแปลงค่าตามต้องการ
ESC Key ใช้สำหรับย้อนกลับไปเมนูแรกก่อนหน้านั้น
Enter Key ใช้สำหรับเลือกที่เมนูตามต้องการ
F1, F2 ถึง F10 ใช้สำหรับการทำรายการตามที่ระบุในเมนู BIOS Setup
สำหรับตัวอย่างต่อไปนี้ผมนำมาให้ดูแบบรวมทั่ว ๆ ไปของ BIOS เท่าที่หาข้อมูลได้นะครับ ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะคล้าย ๆ กัน เริ่มจากหลังจากที่กด DEL หรือ Key อื่น ๆ ขณะเปิดเครื่องเพื่อเข้าสู่ BIOS Setup Mode โดยปกติแล้ว ถ้าหากเป็นการตั้งค่าครั้งแรก หลังจากที่ทำการ Reset CMOS แล้ว ก็เลือกที่เมนู Load BIOS Default Setup หรือ Load BIOS Optimal-performance เพื่อเลือกการตั้งค่าแบบกลาง ๆ ของอุปกรณ์ทั่วไปก่อน จากนั้นจึงมาทำการเลือกแก้ไขเปลี่ยนแปลงแต่ละค่า ตามเมนูต่อไปนี้
Standard CMOS Setup
Date และ Time | ใส่ วันที่ และ เวลา ปัจจุบัน |
Hard Disk | กำหนดขนาดของ HDD (Hard Disk) ว่ามีขนาดเท่าไร โดยเลือกตั้งค่าเองแบบ User, แบบอัตโนมัติ Auto หรือไม่ได้ติดตั้งก็เลือกที่ None |
Primary / Master | อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE แรก แบบ Master |
Primary / Slave | อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE แรก แบบ Slave |
Secondary / Master | อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE ที่สอง แบบ Master |
Secondary / Slave | อุปกรณ์ที่ต่อกับ IDE ที่สอง แบบ Slave |
- Cyls | จำนวน cylinders ใส่ตามคู่มือ HDD |
- Heads | จำนวน heads ใส่ตามคู่มือ HDD |
- Precomp | write precompensation cylinder ไม่ต้องกำหนดหรือใส่ตามคู่มือ HDD |
- Landz | landing zone ไม่ต้องกำหนด หรือใส่ตามคู่มือ HDD |
- Sectors | จำนวน sectors ใส่ตามคู่มือ HDD |
Mode | ถ้าหากทราบค่าที่แน่นอนให้ใส่เป็น User แต่ถ้าไม่แน่ใจ ให้ตั้ง Auto ไว้ |
- Auto BIOS | จะทำการตรวจสอบและตั้ง Mode ของ HDD อัตโนมัติ |
- Normal | สำหรับ HDD ที่มี clys,heads,sectors ไม่เกิน 1024,16,63 |
- Large | สำหรับ HDD ที่มี cyls มากกว่า 1024 แต่ไม่ support LBA Mode |
- LBA | Logical Block Addressing สำหรับ HDD ใหม่ ๆ จะมีการส่งข้อมูลที่เร็วกว่า |
Drive A: B: | ชนิดของ Diskette Drives ที่ติดตั้งใช้งาน 360K, 720K, 1.2M หรือ 1.44M |
Video | ชนิดของจอแสดงภาพ (ปกติจะเป็น EGA/VGA) |
Halt On | กำหนดการ Stop หากพบ Error ขณะที่ POST (Power-On Seft Test) |
- All errors | การ POST จะหยุดและแสดง prompts ให้เลือกการทำงานต่อไปทุก Error |
- All, But Key | การ POST จะไม่หยุดกรณีของการเกิด Keyboard Error |
- All, But Disk | การ POST จะไม่หยุดกรณีของการเกิด Disk Drive Error |
- All, But Disk/Key | การ POST จะไม่หยุดกรณีของการเกิด Keyboard Error หรือ Disk Error |
Memory | จะแสดงขนาดของ Memory ที่ใส่อยู่ ซึ่งไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ |
- Base Memory | โดยปกติจะเป็น 640K สำหรับ DOS |
- Extended | คือ Memory ในส่วนที่สูงกว่า 1M ขึ้นไป |
- Other Memory | หมายถึงส่วนของระหว่าง 640K ถึง 1M |
Virus Warning | การเตือนเมื่อมีการเขียนข้อมูลทับ Boot Record ของ HDD [Enabled] |
CPU Int / Ext cache | การใช้งาน CPU Internal / External Cache [Enabled] |
CPU L2 Cache ECC Check | การใช้ External Cache แบบ ECC SRAMs |
Quick Power On Seft Test | การทำ POST แบบเร็ว [Enabled] |
Boot Sequence | เลือกลำดับของการบูทเช่นจาก C:, A: หรือ IDE-0, IDE-1 [C: A:] |
Swap Floppy Disk | กำหนดการสลับตำแหน่ง Drive A: เป็น Drive B: [Disabled] |
Boot Up Floppy Seek | การตรวจสอบชนิดของ Disk Drive ว่าเป็นแบบใด [Disabled] |
Boot Up NumLock Status | กำหนดการทำงานของ Key NumLock หลังจากเปิดเครื่อง [Disabled] |
Boot Up System Speed | กำหนดความเร็ว CPU หลังจากเปิดเครื่อง [High] |
Gate A20 Option | การเข้าถึง Address memory ส่วนที่สูงกว่า 1M [Fast] |
Typematic Rate Setting | กำหนดความเร็วของการกด Key [Enabled] |
Typematic Rate (Chars/Sec) | กำหนดความเร็วของการกด Key [6] |
Typematic Delay (Msec) | กำหนดค่า delay ของการกด Key [250] |
Security Option | กำหนดการตั้งรหัสผ่านของการ Setup BIOS หรือ System [Setup] |
PS/2 Mouse Control | กำหนดการใช้งาน PS/2 Mouse [Disabled] |
PCI/VGA Palette Snoop | แก้ปัญหาการเพี้ยนของสีเมื่อใช้การ์ดวีดีโออื่น ๆ ร่วมด้วย [Disabled] |
Assign IRQ for VGA | กำหนดการใช้ IRQ ให้กับการ์ดจอ [Enabled] |
OS Select for DRAM > 64M | การกำหนดหน่วยความจำสำหรับ OS2 [Non-OS] |
HDD S.M.A.R.T capability | Self-Monitering Analysis and Reporting Technology ควรเลือก [Enabled] |
Video BIOS Shadow | กำหนดให้ทำ Shadow กับ ROM จากการ์ดแสดงผล C0000-C4000 ควรเลือก [Enabled |
Adapter ROM | กำหนดให้ทำ Shadow กับ ROM จากการ์ดที่เสียบเพิ่มเติม |
- C8000 | ใช้กับการ์ดแสดงผลชนิด MDA (จอเขียว) |
- CC000 | ใช้กับการ์ด controller บางประเภท [Disabled] |
- D0000 | ใช้กับการ์ด LAN [ถ้าไม่ใช้ตั้ง Disabled] |
- D4000 | ใช้กับ controller สำหรับ Disk Drive ชนิดพิเศษ [Disabled] |
- D8000 | ตั้ง [Disable] |
- DC000 | ตั้ง [Disable] |
- E0000 | ตั้ง [Disable] |
- E4000 | ตั้ง [Disable] |
- E8000 | ตั้ง [Disable] |
- EC000 | ใช้กับการ์ด controller ชนิด SCSI [หากไม่ได้ใช้ตั้ง Disable] |
System ROM | การทำ Shadow กับ ROM ของ BIOS ที่ F000 [Enabled] |
Auto Configuration | คือให้ BIOS จัดการค่าต่างๆโดยอัตโนมัติซึ่งจะเป็นค่ากลาง ๆ |
Hidden Refresh | การเติมประจุไฟของ DRAM [Enabled] |
Slow Refresh | ให้ DRAM ลดความถี่ในการเติมประจุไฟลง 2 – 4 เท่า [เลือก Enabled ถ้าไม่มีปัญหาในการใช้งาน] |
Concurrent Refresh | การอ่าน-เขียนข้อมูล ได้พร้อมๆกับการเติมประจุไฟใน DRAM [เลือก Enabled ถ้าไม่มีปัญหาในการใช้งาน] |
Burst Refresh | การเติมประจุไฟลง DRAM ได้หลายๆ รอบในการทำงานครั้งเดียว [เลือก Enabled ถ้าไม่มีปัญหาในการใช้งาน] |
DRAM Brust at 4 Refresh | จำนวนการ Burst Refresh เป็น 4 รอบในการทำงาน 1ครั้ง [Enabled] |
Staggered Refresh | การเติมประจุล่วงหน้าใน DRAM ใน Bank ถัดไปด้วย [Enabled] |
Refresh RAS Active Time | ให้ทดลองกำหนดค่าน้อยที่สุดเท่าที่เครื่องจะสามารถทำงานได้ |
AT Cycle Wait State | เวลาที่รอให้การ์ด ISA พร้อม ให้ตั้งค่าที่น้อยสุดเท่าที่เครื่องทำงานได้ |
16-Bit Memory, I/O Wait State | เวลาที่ซีพียูต้องรอระหว่างรอบการทำงาน ตั้งน้อยที่สุดที่ทำงานได้ |
8-Bit Memory, I/O Wait State | เวลาที่ซีพียูต้องรอระหว่างรอบการทำงาน ให้ตั้งน้อยสุดที่ทำงานได้ |
DMA Clock Source | กำหนดความเร็วของอุปกรณ์ DMA โดยมีค่าปกติคือ 5 MHz |
Memory Remapping | หากเปิดการทำงานนี้ไว้จะทำ Shadows กับ BIOS ใดๆ ไม่ได้ [Disable] |
Cache Read Hit Burst หรือ SRAM Read Wait State | ระยะพักรอเมื่ออ่านข้อมูลลงใน L1 Cache ให้ตั้งน้อยที่สุดเท่าที่ทำงานได้ |
Cache Write Hit Burst หรือ SRAM Write Wait State | ระยะพักรอเมื่ออ่านข้อมูลลงใน L1 Cache ให้ตั้งน้อยที่สุดเท่าที่ทำงานได้ |
Fast Cache Read / Write | ให้แคชทำงานโหมดความเร็วสูง จะมีผลเมื่อแคชมีขนาด 64 KB หรือ 256 KB |
Tag Ram Includes Ditry | ให้แคชทำงานในโหมดเขียนทับโดยไม่ต้องย้าย/ลบข้อมูลเดิมออกก่อน หากมี Ram น้อยกว่า 256 MB ควรใช้ Dirty Bit |
Non-Cacheable Block-1 Size | กำหนดขนาดหน่วยความจำที่ห้ามทำแคช [OK หรือ Disabled] |
RAS to CAS Delay Time | ค่าหน่วงเวลาก่อนที่จะสลับการทำงาน RAS-CAS ตั้งค่าน้อยที่สุด เท่าที่ทำงานได้ |
CAS Before RAS | การสลับลำดับการทำงานระหว่าง RAS และ CAS |
CAS Width in Read Cycle | กำหนดค่าหน่วงเวลาก่อนที่ซีพียูจะเริ่มอ่านข้อมูลใน DRAM ตั้งน้อยที่สุดที่ทำงานได้ |
Interleave Mode | ให้ซีพียูอ่าน – เขียนข้อมูลจาก DRAM ในโหมด Interleave |
Fast Page Mode DRAM | ให้หน่วยความจำทำงานแบบ FPM โดยไม่ต้องอาศัย RAS และ CAS ซึ่งจะเร็วกว่า |
SDRAM CAS Latency Time หรือ SDRAM Cycle Length | ระยะ รอบการทำงานของ CAS latency ใน SDRAM ตั้งค่าน้อยที่สุด หรือใช้ค่า 2 กับ RAM ชนิด PC100 และใช้ค่า 3 กับ RAM ชนิด ความเร็วแบบ PC66/83 |
Read Around Write | กำหนดให้ซีพียูอ่าน – เขียนข้อมูลจากหน่วยความจำได้ในคราวเดียวกัน [Enabled] |
DRAM Data Integrity Mode | เลือก Non-ECC หรือ ECC ตามขนิดของ SDRAM |
System BIOS Cacheable | การทำแคชของ System BIOS ROM #F0000-FFFFF [Enabled] |
Video BIOS Cacheable | การทำแคชของ Video BIOS ROM [Enabled] |
Video RAM Cacheable | การทำแคชของ Video RAM #A0000-AFFFF [Enabled ถ้าไม่มีปัญหา] |
Memory Hole at 15M-16M | การจองพื้นที่สำหรับ ISA Adapter ROM [Enabled] |
Passive Release | กำหนด CPU to PCI bus accesses ช่วง passive release [Enabled] |
Delayed Transaction | เลือก Enable สำหรับ PCI version 2.1 |
AGP Aperture Size (MB) | กำหนดขนาดของ AGP Aperture กำหนดเป็นครึ่งหนึ่งของ RAM ทั้งหมด |
Power Management
Max Saving | กำหนดการประหยัดพลังงานแบบ สูงสุด |
User Define | กำหนดการประหยัดพลังงานแบบ ตั้งค่าเอง |
Min Saving | กำหนดการประหยัดพลังงานแบบ ต่ำสุด |
PM Control by APM | กำหนดให้ควบคุมการประหยัดพลังงานผ่านทางซอฟท์แวร์ APM |
Video Off Method | กำหนดวิธีการปิดจอภาพเมื่อเข้าสู่โหมดประหยัดพลังงาน |
- V/H SYNC + Blank | จะปิดการทำงาน V/H SYNC และดับจอภาพด้วย Blank Screen |
- DPMS | สำหรับการ์ดแสดงผลและจอภาพที่สนับสนุนโหมด DPMS |
- Blank Screen | จะทำการแสดงหน้าจอว่าง ๆ เมื่อประหยัดพลังงาน สำหรับจอรุ่นเก่า ๆ |
Video Off After | ให้ปิดจอภาพเมื่อเข้าสู่โหมดประหยัดพลังงานแบบ Stanby หรือ Suspend |
Standby Mode | กำหนดระยะเวลาเมื่อพบว่าไม่มีการใช้งาน จะหยุดทำงานของอุปกรณ์บางส่วน |
Supend Mode | จะตัดการทำงานบางส่วนคล้าย Standby Mode แต่หยุดอุปกรณ์ที่มากกว่า |
HDD Power Down | กำหนดระยะเวลาก่อนที่ BIOS จะหยุดการทำงานของ HDD |
Resume by Ring | เมื่อ Enabled สามารถสั่งให้ทำงานจาก Soft Off Mode ได้ |
Resume by Alarm | เมื่อ Enabled สามารถตั้งเวลาทำงานจาก Suspend Mode ได้ |
Wake Up On LAN | เมื่อ Enabled สามารถสั่งให้ทำงานจาก Soft Off Mode ได้ |
Integrated Peripherals
IDE HDD BLOCKS MODE | ให้ HDD อ่าน-เขียนข้อมูลได้ครั้งละหลาย Sector พร้อมกัน [Enabled] |
IDE PIO Mode… | กำหนดการทำงานแบบ Programe Input/Output [ตั้งสูงสุดหรือ Auto] |
IDE UDMA… | กำหนดการทำงานแบบ DMA หรือ UDMA [Enabled หรือ Auto] |
On-Chip PCI IDE | กำหนดการใช้ช่องเสียบ HDD IDE ที่อยู่บนเมนบอร์ด [Enabled] |
USB Keyboard Support | กำหนดให้ใช้ Keyboard แบบ USB [Enabled] |
Onboard FDC Controller | กำหนดให้ใช้ช่องเสียบ Disk Drive ที่อยู่บนเมนบอร์ด [Enabled] |
Onboard Serial Port 1 | กำหนดค่าแอดเดรสและ IRQ ให้ COM1 ค่าปกติคือ 3F8/IRQ4 |
Onboard Serial Port 2 | กำหนดค่าแอดเดรสและ IRQ ให้ COM2 ค่าปกติคือ 2F8/IRQ3 |
Parallel Port Mode | กำหนดโหมดการทำงานของพอร์ตขนานได้ใน 3 แบบ [EPP&ECP] |
- SPP (Standard Parallel Port) | คือโหมดมาตรฐานเหมาะแก่เครื่องพิมพ์รุ่นเก่าๆ |
- EPP (Enhanced Parallel Port) | คือโหมด 2 ทิศทางเหมาะแก่เครื่องพิมพ์รุ่นใหม่ |
- ECP (Extended Cap. Port) | คือโหมดความเร็วสูง เมื่อต่อพ่วงกับ Scanner, Laplink ฯลฯ |
ECP MODE USE DMA | คือกำหนด DMA สำหรับ Port ขนานแบบ ECP ซึ่งค่าปกติคือ 3 |
การตั้งค่าอื่น ๆ
Load BIOS Default Setup
เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOS จะทำการตั้งค่าต่าง ๆ ให้เป็นแบบกลาง ๆ สำหรับอุปกรณ์ทั่ว ๆ ไป หรือเป็นการตั้งค่าแบบ Factory Setup ก็ได้
เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOS จะทำการตั้งค่าต่าง ๆ ให้เป็นแบบกลาง ๆ สำหรับอุปกรณ์ทั่ว ๆ ไป หรือเป็นการตั้งค่าแบบ Factory Setup ก็ได้
Load BIOS Optimize Setup
เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOS จะทำการตั้งค่าต่าง ๆ ของอุปกรณ์ ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด
เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOS จะทำการตั้งค่าต่าง ๆ ของอุปกรณ์ ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด
Password Setting
ใช้สำหรับการตั้ง Password เมื่อต้องการจะเข้าไปเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าต่าง ๆ ใน BIOS หรือเมื่อต้องการจะเปิดเครื่อง โดยปกติเมื่อใส่ Password ระบบจะให้ใส่ Confirm ซ้ำ 2 รอบเพื่อป้องกันการใส่ผิดพลาด (ไม่ใส่อะไรเลย คือการยกเลิก password)
ใช้สำหรับการตั้ง Password เมื่อต้องการจะเข้าไปเปลี่ยนแปลงการตั้งค่าต่าง ๆ ใน BIOS หรือเมื่อต้องการจะเปิดเครื่อง โดยปกติเมื่อใส่ Password ระบบจะให้ใส่ Confirm ซ้ำ 2 รอบเพื่อป้องกันการใส่ผิดพลาด (ไม่ใส่อะไรเลย คือการยกเลิก password)
HDD Low Level Format
เป็นเมนูสำหรับทำ Low Level Format ของ Hard Disk ซึ่งใช้สำหรับทำการ Format Hard Disk แบบระดับต่ำสุด ซึ่งถ้าหากไม่มีปัญหาอะไรกับ Hard Disk ก็ไม่จำเป็นต้องทำ
เป็นเมนูสำหรับทำ Low Level Format ของ Hard Disk ซึ่งใช้สำหรับทำการ Format Hard Disk แบบระดับต่ำสุด ซึ่งถ้าหากไม่มีปัญหาอะไรกับ Hard Disk ก็ไม่จำเป็นต้องทำ
Exit with Save Setting หรือ Exit without Save Setting
เมื่อทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการตั้งค่าต่าง ๆ ของ BIOS แล้วต้องทำการ Save เก็บไว้ด้วยนะครับ ส่วนใหญ่เมื่อทำการ Save แล้วจะบูทเครื่องใหม่ ค่าต่าง ๆ ที่ตั้งไว้จึงจะใช้งานได้
เมื่อทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการตั้งค่าต่าง ๆ ของ BIOS แล้วต้องทำการ Save เก็บไว้ด้วยนะครับ ส่วนใหญ่เมื่อทำการ Save แล้วจะบูทเครื่องใหม่ ค่าต่าง ๆ ที่ตั้งไว้จึงจะใช้งานได้
CPU Setup
นอกจากนี้ ในเมนบอร์ดรุ่นใหม่ ๆ ที่เป็นแบบ Jumper Free (ไม่ใช้ Jumper แต่จะใช้เมนูใน BIOS สำหรับตั้งค่าต่าง ๆ ) จะสามารถตั้งค่าของความเร็ว CPU, ค่า multiple หรือ FSB, ค่าไฟ Vcore และอื่น ๆ อีกแล้วแต่รุ่นของเมนบอร์ดนั้น ๆ
นอกจากนี้ ในเมนบอร์ดรุ่นใหม่ ๆ ที่เป็นแบบ Jumper Free (ไม่ใช้ Jumper แต่จะใช้เมนูใน BIOS สำหรับตั้งค่าต่าง ๆ ) จะสามารถตั้งค่าของความเร็ว CPU, ค่า multiple หรือ FSB, ค่าไฟ Vcore และอื่น ๆ อีกแล้วแต่รุ่นของเมนบอร์ดนั้น ๆ
วิธีการลบหรือยกเลิก Password ใน BIOS เมื่อลืมหรือไม่ทราบ
โดยปกติแล้ว หากใช้เครื่องคอมพิวเตอร์คนเดียว ก็คงไม่มีความจำเป็นต้องตั้ง Password สำหรับเข้าไป Setup BIOS หรือเปิดเครื่อง แต่ถ้าหากได้เคยตั้งไว้แล้วลืม หรือได้เมนบอร์ดมาโดยที่มีการตั้ง Password ไว้และไม่รู้ว่าใช้ Password อะไร ก็มีวิธีการที่จะ Reset หรือ Clere Password ซึ่งอาจจะต้องลองหลาย ๆ วิธีดูนะครับเท่าที่ได้รวบรวมมาดังนี้
โดยปกติแล้ว หากใช้เครื่องคอมพิวเตอร์คนเดียว ก็คงไม่มีความจำเป็นต้องตั้ง Password สำหรับเข้าไป Setup BIOS หรือเปิดเครื่อง แต่ถ้าหากได้เคยตั้งไว้แล้วลืม หรือได้เมนบอร์ดมาโดยที่มีการตั้ง Password ไว้และไม่รู้ว่าใช้ Password อะไร ก็มีวิธีการที่จะ Reset หรือ Clere Password ซึ่งอาจจะต้องลองหลาย ๆ วิธีดูนะครับเท่าที่ได้รวบรวมมาดังนี้
ถ้าคุณไม่ได้ตั้ง password เอง ให้ลองใช้ Default Password เหล่านี้ดูก่อน เพราะอาจจะเป็น password ที่ตั้งมาตั้งแต่แรกก็ได้ (Case Sensitive)
- AMI
- Award
- bios
- setup
- cmos
- AMI_SW
- AMI!SW/
- AMI?SW/
- AWARD_SW
ทำการ Reset โดยการ Clear CMOS ดังนี้
- มอง หา jumper สำหรับ Reset CMOS ก่อนโดยดูจากคู่มือ หรืออาจจะมองหา jumper ใกล้ ๆ กับแบตเตอรี่ของ CMOS ก็ได้ ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็น jumper 3 ขา
- วิธีการ Reset คือทำการ jump ให้ตรงข้ามกับปกติ คือถ้าหากเดิมมีการ jump อยู่ที่ 1-2 ก็เปลี่ยนมาเป็น 2-3 หรือถ้าปกติ jump อยู่ที่ 2-3 อยู่แล้วก็เปลี่ยนเป็น 1-2
- จากนั้นเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทิ้งไว้สัก 5-10 วินาที ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
- เปลี่ยน jumper กลับมาที่เดิม Password จะถูก Reset
ทำการถอดแบตเตอรี่ของ CMOS ออก
ถ้า หากไม่สามารถหา jumper สำหรับ Reset CMOS ได้อาจจะมีอีกวิธี คือทำการถอดแบตเตอรี่ของ CMOS ออกสัก 5 นาทีแล้วก็ใส่เข้าไปใหม่ จะเป็นการตั้งค่าทุกอย่างของ BIOS กลับไปเป็น Default ได้ แต่เมนบอร์ดบางรุ่น จะยังมี Password อยู่โดยจะเป็น Default Password ตามด้านบนนะครับ หลังจากใส่แบตเตอรี่แล้วก็ถ้ายังถาม Password อีกให้ลองใส่ Default Password ข้างบนดู
ใช้โปรแกรม Reset CMOS เพื่อทำการลบ password
โดยการใช้โปรแกรม มาทำการรัน เพื่อลบ password ซึ่งวิธีนี้ผมเองก็ยังไม่เคยใช้ ถ้าหากไม่มีวิธีอื่น ๆ แล้วก็ลองกันดูครับ ตัวโปรแกรมที่ว่าเคยเห็นจาก http://www.thaiware.com ครับ
ใช้โปรแกรม CMOSPWD สำหรับการดู password ที่ตั้งไว้
โดยการใช้โปรแกรม CMOSPWD มารันใน DOS Mode ซึ่งจะทำให้เราเห็นข้อมูลของ password ได้ แต่ต้องทราบรุ่นของ bios ที่ใช้งานด้วยนะครับ ตัวโปรแกรมนี้หาได้ที่ http://www.tweakfiles.com ครับ
ใช้ debug ในการลบ password
อีกวิธีหนึ่งครับ โดยการเรียกโปรแกรม debug ที่จะมีอยู่ใน DOS และสั่งคำสั่งต่าง ๆ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. บูตเครื่องโดยให้เข้าที่ DOS Mode โดยการกด Ctrl ค้างขณะบูต และเลือกเข้า DOS Prompt
2. พิมพ์คำว่า debug และกด Enter จะขึ้นเครื่องหมาย – รออยู่
3. พิมพ์คำว่า o 70 2e และกด Enter ( ตัวอักษร โอ เจ็ดศูนย์ สองหนึ่ง นะครับ)
4. พิมพ์คำว่า o 71 ff และกด Enter
5. กด q และกด Enter ครับ
6. จากนั้น บูตเครื่องใหม่ ถ้าใช้งานได้ ก็จะไม่มีการถามรหัสผ่านเข้า bios อีกแล้ว
2. พิมพ์คำว่า debug และกด Enter จะขึ้นเครื่องหมาย – รออยู่
3. พิมพ์คำว่า o 70 2e และกด Enter ( ตัวอักษร โอ เจ็ดศูนย์ สองหนึ่ง นะครับ)
4. พิมพ์คำว่า o 71 ff และกด Enter
5. กด q และกด Enter ครับ
6. จากนั้น บูตเครื่องใหม่ ถ้าใช้งานได้ ก็จะไม่มีการถามรหัสผ่านเข้า bios อีกแล้ว
ความหมายของเสียงบอกข้อผิดพลาดใน BIOS เมื่อมีปัญหาเวลาเปิดเครื่อง
ความหมายของเสียงหรือข้อความแจ้งการผิดพลาดของ BIOS (AMI BIOS และ Award BIOS) ไปเจอมาเลยนำมาฝากกัน ขอไม่แปลเป็นภาษาไทยนะครับ เพื่อคงความหมายเดิม ๆ ให้มากที่สุด
ความหมายของเสียงหรือข้อความแจ้งการผิดพลาดของ BIOS (AMI BIOS และ Award BIOS) ไปเจอมาเลยนำมาฝากกัน ขอไม่แปลเป็นภาษาไทยนะครับ เพื่อคงความหมายเดิม ๆ ให้มากที่สุด
AMI BIOS
Audio Beep Errors : AMI BIOS
Error Messages/Codes : AMI BIOS
Award BIOS ISA/EISA v4.5x
Audio Beep Errors : Award BIOS
Error Messages/Codes : Award BIOS
Audio Beep Errors : AMI BIOS
Number of Beeps
|
Description of Problem
|
Solution
|
---|---|---|
1 beep
|
DRAM refresh failure
|
Try re-seating the memory first. If the error still occurs, replace the memory with known good chips.
|
2 beeps
|
Parity Circuit Failure
| |
3 beeps
|
Base 64K RAM failure
| |
4 beeps
|
System Timer Failure
|
Send System Board in for Repair
|
5 beeps
|
Processor Failure
| |
6 beeps
|
Keyboard Controller / Gate A20 Failure
|
Try re-seating the keyboard controller chip. If the error still occurs, replace the keyboard chip. If the error persists, check parts of the system relating to the keyboard, e.g. try another keyboard, check to see if the system has a keyboard fuse.
|
7 beeps
|
Virtual Mode Exception Error
|
Send System Board in for Repair
|
8 beeps
|
Display Memory Read/Write Failure
|
Indicates a memory error on the video adapter. Try re-seating the video card. If it still beeps, try replacing the video card or the memory on the video card.
|
9 beeps
|
ROM BIOS Checksum Failure
|
Indicates faulty BIOS chip(s). It is not likely that this error can be corrected by re-seating the chips. Consult the motherboard supplier or an AMI product distributor for replacement part(s).
|
10 beeps
|
CMOS Shutdown Register Read/Write Error
|
Send System Board in for Repair
|
1 long 2 short
|
Video failure
|
Reseat the video board – replace if board is determined to be faulty.
|
1 long 3 short
|
Video failure
| |
1 long
|
POST passed.
|
No Errors
|
Error Message
|
Problem
|
Solution
|
---|---|---|
CH-2 Timer Error
|
Non fatal. Could be caused by a peripheral.
| |
INTR #1 Error
|
Interrupt Channel 1 has failed the POST test
|
Check system boards for IRQs 0-7.
|
INTR #2 Error
|
Interrupt Channel 2 has failed the POST test
|
Check system boards for IRQs 8-15.
|
CMOS Battery State Low
|
Replace battery.
| |
CMOS Checksum Failure
|
A checksum is generated when CMOS values are saved for error checking on subsequent startups. This error message will appear if the checksum is different from one boot-up to the next.
|
Run the setup program again to correct the problem.
|
CMOS Memory Size Mismatch
|
Usually caused when you add or remove memory from your system but could be caused by memory that has failed.
|
Run setup.
|
CMOS System Optons Not Set
|
CMOS values are either corrupt or do not exist.
|
Run Setup.
|
Display Switch Not Proper
|
Many motherboards have a jumper setting that allows you to specify whether you have a color or monochrome monitor.
|
Correct the switch position.
|
Keyboard is locked … Unlock it
|
Unlock the keyboard.
| |
Keyboard Error
|
There is a problem with the keyboard
|
Make sure your keyboard BIOS is compatible, that the keyboard is plugged in completely, and that no keys are stuck. Or, change the BIOS keyboard setting to “Not Installed” to skip the test.
|
K/B Interface Error
|
There is a problem with the keyboard connector on the motherboard.
| |
FDD Controller Failure
|
The BIOS cannot communicate with the floppy drive controller.
|
The floppy may be disabled, also check that the cable is not loose.
|
HDD Controller Failure
|
As above, but for hard disks.
| |
C: Drive Error
|
The system cannot get a response from drive C.
|
The hard disk type is most likely set incorrectly, or the disk may not be formatted or connected properly.
|
D: Drive Error
|
Same as above except for drive D.
|
Same as above.
|
C: Drive Failure
|
The drive was detected but failed. More serious than error.
| |
D: Drive Failure
|
Same as above.
| |
CMOS Time and Date Not Set
|
Run Setup
| |
Cache Memory Bad, do Not Enable Cache!
|
Cache may indeed be bad, if so replace. May simply need re-seating.
| |
8042 Gate-A20 Error!
|
The Gate-A20 portion of the keyboard controller has failed.
|
Replace the keyboard chip (8042)
|
Address Line Short
|
There is a problem with the memory address decoding circuitry.
|
Try rebooting, (turn the system off and then on 10 seconds later). The problem may correct itself.
|
DMA #1 Error
|
There is an error in the first DMA channel on the motherboard
|
Could be caused by a peripheral device.
|
DMA Error
|
There is an error within the DMA controller on the motherboard.
| |
No ROM Basic.
|
There is nothing to boot from. (i.e.- the system cannot find an operating system).
|
Be certain that a bootable disk is defined in the system setup.
|
Diskette Boot Failure
|
The diskette in the specified boot-up drive is corrupt.
| |
Invalid Boot Diskette
|
Same as above, but the disk is readable.
| |
On Board Parity Error
|
There is a parity error with memory on the motherboard at address XXXX (hex). (On Board specifies that the memory is not on an expansion board, but rather is located on the motherboard physically).
|
Possibly correctable with software from the motherboard manufacturer. (also do a Virus Check – some viruses cause parity errors).
|
Off Board Parity Error
|
There is a parity error with memory installed in an expansion slot at address XXXX (hex)
|
Same as above.
|
Parity Error
|
There is a parity error with memory somewhere in the system.
|
Same as above.
|
Memory Parity Error at XXXX
|
Memory has failed. If it cannot be determined, it is displayed as XXXX, if not, as ????
|
Same as above.
|
I/O Card Parity Error at XXXX
|
Same as above.
|
Same as above.
|
DMA Bus Time-out
|
A device has driven the bus signal for more than 7.8 microseconds.
|
Troubleshoot all system boards. (remove them and try to isolate the failure)
|
Memory mismatch, run Setup
|
Disable Memory Relocation if possible.
| |
EISA CMOS Checksum Failure
|
The checksom for EISA CMOS is bad, or the battery is bad.
| |
EISA CMOS Inoperational
|
A read/write failure occured in extended CMOS RAM.
|
The battery may be bad.
|
Expansion Board not ready at Slot X
|
AMI BIOS cannot find the expansion board in X slot.
|
Verify that the board is in the correct slot and is seated properly.
|
Fail-Safe Timer NMI Inoperational
|
Devices that depend on the fail-safe NMI timer are not operating correctly.
| |
ID information mismatch for Slot X
|
The ID of the EISA expansion board in slot X does not match the ID in CMOS RAM.
| |
Invalid Configuration Information for Slot X
|
The configuration information for EISA board X is not correct.
|
Run the ECU.
|
Software Port NMI Inoperational
|
The software port NMI is not working.
| |
BUS Timeout NMI at Slot X
|
There was a bus timeout NMI at Slot X.
| |
(E)nable (D)isable Expansion Board?
|
Type E to enable the board that had an NMI or D to disable it.
| |
Expansion Board disabled at Slot X
|
The expansion board NMI was generated from slot X.
| |
Fail-Safe Timer NMI
|
A fail-safe timer NMI has been generated.
| |
Software Port NMI
|
A software port NMI has been generated.
|
Audio Beep Errors : Award BIOS
Number of Beeps
|
Description of Problem
|
Solution
|
---|---|---|
1 long, 2 short
|
Video error
|
Reseat the video card – replacement may be necessary if it is faulty.
|
Error Message
|
Problem
|
Solution
|
---|---|---|
CMOS BATTERY HAS FAILED
|
CMOS battery is no longer functional.
|
Replace battery.
|
CMOS CHECKSUM ERROR
|
Checksum of CMOS is incorrect. This can indicate that CMOS has become corrupt. This error may have been caused by a weak battery.
|
Check battery and replace it if necessary.
|
DISK BOOT FAILURE, INSERT SYSTEM DISK AND PRESS ENTER
|
No boot device was found. This could mean that either a boot drive was not detected or the drive does not contain proper system boot files.
|
Insert a system disk into Drive A: and press Enter. If you assumed the system would boot from the hard drive make sure the controller is inserted correctly and all cables are properly attached. Also be sure the disk is formatted as a boot device. Then reboot the system.
|
DISKETTE DRIVES OR TYPES MISMATCH ERROR – RUN SETUP
|
Type of diskette drive installed in the system is different from the CMOS definition.
|
Run Setup and enter the drive type correctly.
|
DISPLAY SWITCH IS SET INCORRECTLY
|
Many motherboards have a jumper or switch that allows you to specify whether you have a monochrome or color video board.
|
Check the jumper or switch and correct it’s position.
|
DISPLAY TYPE HAS CHANGED SINCE LAST BOOT
|
Since you last shut the system down, the display had been changed.
|
Run Setup and reconfigure display if possible.
|
EISA Configuration Checksum Error
|
The EISA non-volatile RAM checksum is incorrect or cannot correctly read the EISA slot.
|
Run the EISA Configuration Utility. Either the EISA non-volatile memory has become corrupt or the slot has been configured incorrectly. Also make sure the card is installed firmly in the slot. When this error appears, the system will boot in ISA mode, which allows you to run the EISA Configuration Utility.
|
EISA Configuration is Not Complete
|
The slot configuration information stored in the EISA non-volatile memory is incomplete. When this error appears, the system will boot in ISA mode, which allows you to run the EISA Configuration Utility.
|
Run the EISA Configuration Utility.
|
ERROR ENCOUNTERED INITIALIZING HARD DRIVE
|
The hard drive cannot be initialized.
|
Be sure the adaptor/controller is installed correctly and that all cables are correctly and firmly attached. Also make sure the correct hard drive type is selected in Setup.
|
ERROR INITIALIZING HARD DRIVE CONTROLLER
|
Cannot initiallize the controller card.
|
Make sure the card is correctly and firmly seated in the system board. Be sure the correct hard drive type is selected in Setup. Also check to see if any jumpers need to be set on the hard drive.
|
FLOPPY DISK CNTRLR ERROR OR NO CNTRLR PRESENT
|
Cannot find or initialize the floppy drive controller.
|
Make certain the controller is installed correctly and firmly. If there are no floppy drives installed, be sure the Diskette Drive selection in Setup is set to NONE.
|
Invalid EISA Configuration
|
The non-volatile memory containing EISA configuration information was programmed incorrectly or has become corrupt.
|
Re-run EISA Configuration Utility to correctly program the memory. When this error occurs, the system will boot in ISA mode which allows you to run the EISA Configuration Utility.
|
KEYBOARD ERROR OR NO KEYBOARD PRESENT
|
Cannot initialize the keyboard.
|
Make sure the keyboard is attached correctly and that no keys are stuck or are being pressed during the boot. If you are purposely configuring the system without the keyboard, set the error halt condition in Setup to HALT ON ALL, BUT KEYBOARD. This will cause the BIOS to ignore the missing keyboard and continue the boot.
|
Memory Address Error at XXXX
|
Indicates a memory address error at XXXX location.
|
Use the location along with the memory map for your system to find and replace the bad memory chips.
|
Memory parity Error at XXXX
|
Indicates a memory parity error at XXXX location.
|
Same as Above.
|
MEMORY SIZE HAS CHANGED SINCE LAST BOOT
|
Memory has been added or removed since the last boot.
|
In EISA mode, use the EISA Configuration Utility to reconfigure the memory configuration. In ISA mode, enter Setup and enter the new memory size in the memory fields if possible.
|
Memory Verify Error at XXXX
|
Indicates an error verifying a value already written to memory.
|
Use the location along with your system’s memory map to locate the bad chip(s).
|
OFFENDING ADDRESS NOT FOUND
|
This message is used in conjunction with the I/O CHANNEL CHECK and RAM PARITY ERROR messages when the segment that has caused the problem cannot be isolated.
|
-
|
OFFENDING SEGMENT:
|
Same as above.
|
-
|
PRESS A KEY TO REBOOT
|
This message is displayed at the bottom of the screen when an error occurs that requires you to reboot.
|
Press any key to reboot the system.
|
PRESS F1 TO DISABLE NMI, F2 TO REBOOT
|
When BIOS detects a Non-maskable Interrupt condition during boot, this will allow you to disable the NMI and continue to boot, or you can reboot the system with the NMI enabled.
|
-
|
RAM PARITY ERROR – CHECKING FOR SEGMENT
|
Indicates a parity error in Random Access Memory.
|
-
|
Should Be Empty But EISA Board Found
|
A valid board ID was found in a slot that was configured as having no board ID.
|
Run the EISA Configuration Utility.
|
Should Have EISA Board But Not Found
|
The board installed is not responding to the ID request, or no board ID has been found in the indicated slot.
|
Run the EISA Configuration Utility.
|
Slot Not Empty
|
A slot designated as empty by the EISA Configuration Utility actually contains a board.
|
Run the EISA Configuration Utility.
|
SYSTEM HALTED, (CTRL-ALT-DEL) TO REBOOT …
|
Indicates the present boot attempt has been aborted and the system must be rebooted.
|
Press and hold down the CTRL and ALT keys and press the DEL key simultaneously.
|
Wrong Board in Slot
|
The board ID does not match the ID stored in the EISA non-volatile memory.
|
Run the EISA Configuration Utility.
|
ขอบคุณที่มา http://www.com-th.net/main/2008/11